เหรียญพิมพ์ดอกเหมย เนื้อทองคำ เจ้าพ่อเสือ ( ตั่วเหล่าเอี้ย ) ด้านหลัง รูปเสือ ศาลเจ้าพ่อเสือ เสาชิงช้า รุ่น 122 ปี ออกเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2533

สินค้าหมดแล้ว

38,000 ฿

เหรียญพิมพ์ดอกเหมย เนื้อทองคำ เจ้าพ่อเสือ ( ตั่วเหล่าเอี้ย ) ด้านหลัง รูปเสือ ศาลเจ้าพ่อเสือ เสาชิงช้า รุ่น 122 ปี ออกเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2533
น้ำหนัก 14.4 กรัม
………………….
ตำนานศาลเจ้าพ่อเสือ
คติของจีนโบราณเชื่อว่า ในรอบปีจะมี “ดาวนักษัตร” ซึ่งเป็นเทพแห่งสวรรค์เสด็จมาประทับปกป้องรักษาดูแลมวลมนุษยโลก ซึ่งในปีนี้ตรงกับ ดาวนักษัตรขาล หรือ เสือ (โฮ้ว) และหนึ่งในสถานศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่สถิตแห่งดาวนักษัตร เป็นที่รู้จักกันดีทั่วไป ก็คือ “ศาลเจ้าพ่อเสือ
ศาลเจ้าพ่อเสือ ตั้งอยู่เลขที่ 468ถนนตะนาว ใกล้เสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพ มหานคร เป็นศาลเจ้าประจำลัทธิเต๋าของชาวจีนแต้จิ๋ว ชาวจีนเรียกว่า”ตั่วเล่าเอี้ย” หรือ รู้จักกันในนาม “เทพเฮี่ยงบู๊” ซึ่งเป็นดาวนักษัตรที่อยู่ประจำทิศอุดรหรือทิศเหนือ มีงูและเต่าเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์คู่กาย
ศาลเจ้าพ่อเสือ มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3ปีที่ก่อสร้างตรงกับปี พ.ศ.2377มีความเกี่ยวเนื่องกับวัดมหรรณพาราม เดิมตั้งอยู่ริมถนนบำรุงเมือง
ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ขยายถนนบำรุงเมือง ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระยาโชฎีราชเศรษฐีย้ายศาลมาไว้ที่ทางสามแพร่งถนนตะนาว จนถึงปัจจุบัน
……..
ราคา 38,000 บาทครับ
สวยไม่ผ่านใช้ ถุงเดิมๆครับ
นิยมครับ หายาก
ขอบคุณครับ

รายละเอียด

เหรียญพิมพ์ดอกเหมย เนื้อทองคำ เจ้าพ่อเสือ ( ตั่วเหล่าเอี้ย ) ด้านหลัง รูปเสือ ศาลเจ้าพ่อเสือ เสาชิงช้า รุ่น 122 ปี ออกเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2533
น้ำหนัก 14.4 กรัม
………………….
ตำนานศาลเจ้าพ่อเสือ
คติของจีนโบราณเชื่อว่า ในรอบปีจะมี “ดาวนักษัตร” ซึ่งเป็นเทพแห่งสวรรค์เสด็จมาประทับปกป้องรักษาดูแลมวลมนุษยโลก ซึ่งในปีนี้ตรงกับ ดาวนักษัตรขาล หรือ เสือ (โฮ้ว) และหนึ่งในสถานศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่สถิตแห่งดาวนักษัตร เป็นที่รู้จักกันดีทั่วไป ก็คือ “ศาลเจ้าพ่อเสือ
ศาลเจ้าพ่อเสือ ตั้งอยู่เลขที่ 468ถนนตะนาว ใกล้เสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพ มหานคร เป็นศาลเจ้าประจำลัทธิเต๋าของชาวจีนแต้จิ๋ว ชาวจีนเรียกว่า”ตั่วเล่าเอี้ย” หรือ รู้จักกันในนาม “เทพเฮี่ยงบู๊” ซึ่งเป็นดาวนักษัตรที่อยู่ประจำทิศอุดรหรือทิศเหนือ มีงูและเต่าเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์คู่กาย
ศาลเจ้าพ่อเสือ มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3ปีที่ก่อสร้างตรงกับปี พ.ศ.2377มีความเกี่ยวเนื่องกับวัดมหรรณพาราม เดิมตั้งอยู่ริมถนนบำรุงเมือง
ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ขยายถนนบำรุงเมือง ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระยาโชฎีราชเศรษฐีย้ายศาลมาไว้ที่ทางสามแพร่งถนนตะนาว จนถึงปัจจุบัน

วัตถุมงคลยอดนิยม